ฟังการรายงานข่าวเรื่อง: โปรแกรม The Gimp - เป็นโปรแกรมประเภท freeware ใช้สำหรับตกแต่งภาพ และมีลูกเล่นต่างๆหลากหลาย ง่ายต่อการใช้งานเพราะมีเมนูเป็นภาษาไทย การใช้งานคล้ายกับ PhotoShop
การรายงานข่าวเรื่องที่สองคือ โปรแกรม Photoscape - เป็นโปรแกรมสำหรับแต่งรูปและจับภาพหน้าจอ
ความหมายของคำศัพท์
Freeware: software ขนาดเล็กที่สามารถโหลดใช้งานได้ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่าย
Commercial software: software การออกแบบในเชิงพาณิชย์ ต้องเสียค่าใช้จ่าย ไฟล์มีขนาดใหญ่สามารถใช้งานได้สมบูรณ์
วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2555
สัปดาห์ที่ 6
ฟังรายงานข่าวเรื่อง: โปรแกรม Stardock - เป็นโปรแกรมที่ไว้ใช้สำหรับจัดเรียงหน้าจอ
ตรวจการทำ Story Board ครั้งที่ 1 - คัดเลือกเรื่องที่น่าสนใจที่สุดมาหนึ่งเรื่องเพื่อนำมาสร้างงาน Animation และการข้อเสนอแนะจากอาจารย์ให้ทำเกี่ยวกับน้ำ
การออกแบบ Mascot
Mascot คือ งาน design ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน
ดาวน์โหลดรายละเอียดการออกแบบ Mascot ได้ที่: http://rlc.nrct.go.th/download/mascot.pdf
ตรวจการทำ Story Board ครั้งที่ 1 - คัดเลือกเรื่องที่น่าสนใจที่สุดมาหนึ่งเรื่องเพื่อนำมาสร้างงาน Animation และการข้อเสนอแนะจากอาจารย์ให้ทำเกี่ยวกับน้ำ
การออกแบบ Mascot
Mascot คือ งาน design ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน
ดาวน์โหลดรายละเอียดการออกแบบ Mascot ได้ที่: http://rlc.nrct.go.th/download/mascot.pdf
PHOTO by Jetsupa Charenu |
สัปดาห์ที่ 5
STORY BOARD IDEA
STORY NAME: TWO BIRDS
Concept: เกี่ยวกับการปลูกต้นไม้เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี โดยใช้ตัวดำเนินเรื่องเป็นนก
Story Line:
Scene1:มีนกสองตัวอาศัยอยู่ในพื้นที่ๆมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้ง ต้นไม้ก็ทิ้งใบปราศจากสีเขียวเหลือเพียงก้านและต้นตอ ซึ่งมาจากการกระทำของมนุษย์ที่ตัดไม้และเผาป่า เมือหมดประโยชน์ก็ทิ้งไว้เสียเปล่า
Scenc2: นกน้อยจึงปรึกษากันว่าควรจะทำอย่างไรดี เพราะหากเป็นอย่างนี้สุดท้ายเราก็คงต้องตายกันหมด แล้วก็มีไอเดียบางอย่างเกิดขึ้น จากเมล็ดพืชที่เป็นอาหารของตน
Scene3: นกตัวผู้จึงทำการทดลองความคิดของตนโดยการนำเมล็ดพืชไปทิ้งไว้ที่พื้นดิน
Scene4: เมื่อเวลาผ่านไปเมล็ดพืชก็เริ่มงอกและเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ
Scene5: นกน้อยจึงช่วยกันนำเมล็ดพืชไปหว่านไว้ทั่วบริเวณเพื่อให้ธรรมชาติกลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง
Scene6: และสภาพแวดล้อมที่แห้งก็กลับมามีสีเขียวอีกครั้ง
STORY NAME: YOUR HAPPY ON GREEN EARTH
Concept: การช่วยรักษาโลก เพื่อโลกที่เรารัก
Story Line:
Scene1: บรรยากาศในตัวเมืองที่เต็มไปด้วยมลภาวะ เหมือนอยู่ภายใต้ห้องกระจก
Scene2: อากาศที่แปรปรวนทั้งร้อนอบอ้าวและฝนตกทำให้เกิดความวุ่นวาย ไม่ว่าจะรถติด ควันพิษและน้ำท่วม
Scene3: การช่วยคลีคลายปัญหามีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นปลูกต้นไม้ ประหยัดน้า ประหยัดไฟและรณรงค์การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
Scene4: ตอนนี้โลกของเรากำลังป่วยจากสารพิษที่รุมล้อม
Scene5: ทุกคนช่วยกันรณรงค์ตามวิธีต่างๆเพื่อให้โลกกลับมาน่าอยู่อีกครั้ง
Scene6: เราจะอยู่กันอย่างมีความสุขภายใต้โลกที่สดใส
วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2555
สัปดาห์ที่ 4
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการผลิตงาน Animation: สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆได้แก่ Pre-Production/Production/Post-Production
Pre-Production
Concept idea or Inspiration (แนวคิดหรือแรงบันดาลใจ): เป็นเรื่องราวของความชอบหรือสิ่งที่เคยพบเคยเห็นแล้วอยากที่จะสร้างสรรค์ผลงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นๆขึ้นมา หรือเกี่ยวกับความทรงจำในอดีตที่ประทับใจ
Script (บท): เป็นการนำคอนเซปต์หลักๆมาเพิ่ม หรือบรรยายเสริมแต่งเป็นเนื้อเรื่อง โดยการหาข้อมูลที่เราต้องการ เช่น ถ้าทำแอนิเมชันเกี่ยวกับการประดิษฐ์จากสิ่งของ ก็ต้องหาอุปกรณ์ของเล่นต่างๆให้ได้มากที่สุด โดยแยกเป็นหมวดหมู่ และถ่ายภาพเก็บไว้เผื่อได้ไอเดียเพิ่มเติม
Character/Prop/Background Design (การออกแบบตัวละคร อุปกรณ์ประกอบฉาก และฉาก): ตัวละคร อุปกรณ์ประกอบฉาก และฉากทั้งหลายในงานแอนิเมชันมักอ้างอิงมาจากของจริงที่ได้จากข้อมูลที่เราค้นหาเบื้องต้น ไม่ว่าจะเป็นรูปจากอินเตอร์เน็ต หนังสือ สื่อ
Story Board (บทภาพนิ่ง): เป็นสิ่งสำคัญที่เปรียบเสมือนตัวกลางให้ทุกฝ่ายได้เข้าใจตรงกันในแอนิเมชันเรื่องนั้นๆ ซึ่งมีรายละเอียดและองค์ประกอบที่สำคัญ คือ มุมกล้อง - การจัดวางและการเคลื่อนที่ของมุมกล้องมีผลต่ออารมณ์และจังหวะของเนื้อเรื่อง จึงควรเข้าใจอารมณ์และความสัมพันธ์ของมุมกล้อง/ ขนาดภาพ - เป็นตัวบอกการดำเนินเรื่องราว ซึ่งจะมีผลต่อการต่อเนื่องของภาพและการเน้นสิ่งที่ต้องการสื่อสารในช็อตนั้นๆ/ เวลาที่ใช้ในช็อต - แสดงการเคลื่อนไหวของตัวละครและองค์ประกอบอื่นๆโดยอ้างอิงจากเสียงพากย์หรือเสียงในรูปแบบต่างๆ คือ เสียงพากย์ของตัวละครและเสียงประกอบพิเศษ, คำอธิบายประกอบการเคลื่อนไหวของตัวละคร
Voice (เสียงพากย์ไกด์): เป็นแนวทางให้แอนิเมชันทำงานได้สะดวกและถูกต้อง โดยอาจใช้โปรแกรม Sound Record ได้หากไม่มีห้องพากย์ โดยไฟล์เสียงที่จะนำมาใช้ต้องเป็น wav.
Animatic Board (บอร์ดภาพเคลื่อนไหว): เป็นการนำสตอรีบอร์ดและเสียงพากย์ไกด์มารวมกันในโปรแกรมตัดต่อ เพื่อดูว่าตรงส่วนไหนควรเพิ่มหรือควรลดอะไร
Production
Modeling (การปั้นโมเดล 3 มิติ): โมเดลตัวละคร/ โมเดลอุปกรณ์ประกอบฉาก/ โมเดลฉากแบ็กกราวด์
Texture (การใส่พื้นผิว): เป็นการใส่สีให้กับตัวละครและอุปกรณ์ประกอบฉากทั้งหลาย โดยจะมีความสวยงามและสมจริงมากแค่ไหนขึ้นอยู่กับ Texture
Blend Shape/Facial Rigging (สร้างการควบคุมสีหน้าของตัวละคร): การกำหนดสีหน้าในแบบต่างๆ
Rigging (การใส่โครงร่างกระดูกและจุดควบคุม): เพื่อสะดวกในการขยับตัวละคร โดยต้องอาสัยความเข้าใจเกี่ยวกับสรีระของร่างกายในรูปแบบต่างๆ
Test Animation (ทดสอบการเคลื่อนไหว): เพื่อดูการทำงานของโครงสร้างกระดูกให้อยู่ในสภาพปกติ
Layout (การจัดองค์ประกอบ): เป็นการนำโมเดลอุปกรณ์ต่างๆเข้ามาในฉาก เพื่อจัดให้ตรงกับสตอรีบอร์ดและเสียงพากย์
Animate (การขยับตัวละครให้เคลื่อนไหว): เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของการเคลื่อนไหว น้ำหนักและจังหวะให้สมบูรณ์
SLR (Shading/Lighting/Rendering): การใส่พื้นผิว - ให้ครบทุกองค์ประกอบ/ การจัดแสง - ใส่เฉดสีบรรยากาศแบบต่างๆ/ การประมวลผล - แยกเป็นเฟสหรือเลเยอร์
Compositing (การนำมาประกอบเข้าด้วยกัน): การทำเอฟเฟกต์ โดยโปรแกรม เช่น Combustion/After Effect
Post-Production
เป็นการตัด/ลดความยาวของแอนิเมชันให้ได้ตามเวลาที่ต้องการ ใส่เสียงเพลงหรือเสียงประกอบที่สัมพันธ์กับภาพ ประมวลผล Output ออกมาในรูปแบบของ AVI/Quick Time .etc
Pre-Production
Concept idea or Inspiration (แนวคิดหรือแรงบันดาลใจ): เป็นเรื่องราวของความชอบหรือสิ่งที่เคยพบเคยเห็นแล้วอยากที่จะสร้างสรรค์ผลงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นๆขึ้นมา หรือเกี่ยวกับความทรงจำในอดีตที่ประทับใจ
Script (บท): เป็นการนำคอนเซปต์หลักๆมาเพิ่ม หรือบรรยายเสริมแต่งเป็นเนื้อเรื่อง โดยการหาข้อมูลที่เราต้องการ เช่น ถ้าทำแอนิเมชันเกี่ยวกับการประดิษฐ์จากสิ่งของ ก็ต้องหาอุปกรณ์ของเล่นต่างๆให้ได้มากที่สุด โดยแยกเป็นหมวดหมู่ และถ่ายภาพเก็บไว้เผื่อได้ไอเดียเพิ่มเติม
Character/Prop/Background Design (การออกแบบตัวละคร อุปกรณ์ประกอบฉาก และฉาก): ตัวละคร อุปกรณ์ประกอบฉาก และฉากทั้งหลายในงานแอนิเมชันมักอ้างอิงมาจากของจริงที่ได้จากข้อมูลที่เราค้นหาเบื้องต้น ไม่ว่าจะเป็นรูปจากอินเตอร์เน็ต หนังสือ สื่อ
Story Board (บทภาพนิ่ง): เป็นสิ่งสำคัญที่เปรียบเสมือนตัวกลางให้ทุกฝ่ายได้เข้าใจตรงกันในแอนิเมชันเรื่องนั้นๆ ซึ่งมีรายละเอียดและองค์ประกอบที่สำคัญ คือ มุมกล้อง - การจัดวางและการเคลื่อนที่ของมุมกล้องมีผลต่ออารมณ์และจังหวะของเนื้อเรื่อง จึงควรเข้าใจอารมณ์และความสัมพันธ์ของมุมกล้อง/ ขนาดภาพ - เป็นตัวบอกการดำเนินเรื่องราว ซึ่งจะมีผลต่อการต่อเนื่องของภาพและการเน้นสิ่งที่ต้องการสื่อสารในช็อตนั้นๆ/ เวลาที่ใช้ในช็อต - แสดงการเคลื่อนไหวของตัวละครและองค์ประกอบอื่นๆโดยอ้างอิงจากเสียงพากย์หรือเสียงในรูปแบบต่างๆ คือ เสียงพากย์ของตัวละครและเสียงประกอบพิเศษ, คำอธิบายประกอบการเคลื่อนไหวของตัวละคร
http://www.nineproduction.com/th/images/stories/storyboard-pub1-copy.jpg |
Animatic Board (บอร์ดภาพเคลื่อนไหว): เป็นการนำสตอรีบอร์ดและเสียงพากย์ไกด์มารวมกันในโปรแกรมตัดต่อ เพื่อดูว่าตรงส่วนไหนควรเพิ่มหรือควรลดอะไร
Production
Modeling (การปั้นโมเดล 3 มิติ): โมเดลตัวละคร/ โมเดลอุปกรณ์ประกอบฉาก/ โมเดลฉากแบ็กกราวด์
http://www.gconsole.com/column/behindthescene/tiger_3d_model.jpg |
Blend Shape/Facial Rigging (สร้างการควบคุมสีหน้าของตัวละคร): การกำหนดสีหน้าในแบบต่างๆ
Rigging (การใส่โครงร่างกระดูกและจุดควบคุม): เพื่อสะดวกในการขยับตัวละคร โดยต้องอาสัยความเข้าใจเกี่ยวกับสรีระของร่างกายในรูปแบบต่างๆ
Test Animation (ทดสอบการเคลื่อนไหว): เพื่อดูการทำงานของโครงสร้างกระดูกให้อยู่ในสภาพปกติ
Layout (การจัดองค์ประกอบ): เป็นการนำโมเดลอุปกรณ์ต่างๆเข้ามาในฉาก เพื่อจัดให้ตรงกับสตอรีบอร์ดและเสียงพากย์
Animate (การขยับตัวละครให้เคลื่อนไหว): เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของการเคลื่อนไหว น้ำหนักและจังหวะให้สมบูรณ์
SLR (Shading/Lighting/Rendering): การใส่พื้นผิว - ให้ครบทุกองค์ประกอบ/ การจัดแสง - ใส่เฉดสีบรรยากาศแบบต่างๆ/ การประมวลผล - แยกเป็นเฟสหรือเลเยอร์
Compositing (การนำมาประกอบเข้าด้วยกัน): การทำเอฟเฟกต์ โดยโปรแกรม เช่น Combustion/After Effect
Post-Production
เป็นการตัด/ลดความยาวของแอนิเมชันให้ได้ตามเวลาที่ต้องการ ใส่เสียงเพลงหรือเสียงประกอบที่สัมพันธ์กับภาพ ประมวลผล Output ออกมาในรูปแบบของ AVI/Quick Time .etc
สัปดาห์ที่ 3
ทำการปรับปรุงขนาดและความกว้างของ Blog ให้เหมาะสม และศึกษาการใช้งานในส่วนประกอบต่างๆ ได้แก่ Favicon/Gadget/Widget
อธิบายการทำ Storyboard from โดยให้ศึกษาความหมายของแต่ละหัวข้อ ได้แก่ เรื่องย่อ(Storyline)/ ภาพประกอบและตัวละคร/ การกำกับตัวละคร/ เสียงพากษ์/ เสียงดนตรีประกอบ(Sound Background)/ เสียงประกอบเหตุการณ์
* ให้คิดเรื่องที่ต้องการจะนำเสนอ: Storyboard(PR) และศึกษาโปรแกรมในการตัดต่อ Video Ex. Autodesk Maya/ Adobe flash/ Adobe premiere/ Adobe after effects..etc.
อธิบายและศึกษาตัวอย่างของการทำ Banners และแจ้งไฟล์รูปแบบการการพิมพ์เอกสารสรุปงาน จาก Google Document shear file from Professor
อธิบายการทำ Storyboard from โดยให้ศึกษาความหมายของแต่ละหัวข้อ ได้แก่ เรื่องย่อ(Storyline)/ ภาพประกอบและตัวละคร/ การกำกับตัวละคร/ เสียงพากษ์/ เสียงดนตรีประกอบ(Sound Background)/ เสียงประกอบเหตุการณ์
* ให้คิดเรื่องที่ต้องการจะนำเสนอ: Storyboard(PR) และศึกษาโปรแกรมในการตัดต่อ Video Ex. Autodesk Maya/ Adobe flash/ Adobe premiere/ Adobe after effects..etc.
อธิบายและศึกษาตัวอย่างของการทำ Banners และแจ้งไฟล์รูปแบบการการพิมพ์เอกสารสรุปงาน จาก Google Document shear file from Professor
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)